แผนประกันภัยอุบัติเหตุกลุ่ม สำหรับพนักงานองค์กร |
การพิจารณาแบ่งชั้นอาชีพตามลักษณะธุรกิจ |
ลักษณะธุรกิจ สำหรับการกำหนดจำนวนเงินเอาประกันภัยและค่าเบี้ยประกันภัย |
ชั้นอาชีพ 1 |
คนขายต้นไม้ ทำสวนครัว และเพาะต้นไม้ การทำสบู่ ไขทำสบู่ เทียน แบะกาววิทยาลัย(อาจารย์ และ/หรือ พนักงานทั่วไป)ธนาคาร บริษัทประกันภัย และกิจการที่คล้ายคลึงกัน นางพยาบาล สถานพักฟื้น โรงพยาบาลและอื่นๆ สถานีวิทยุกระจายเสียง โรงมหรสพ (รวมถึงโรงภาพยนตร์) การทำไม้กวาด ทำแปรง เครื่องหมาย และเครื่องจักสาน การทำเครื่องใช้จากงา เขา กระดูกสัตว์ การตีพิมพ์ การหุ้มปก หรือ การจัดพิมพ์โฆษณา โรงแรม และภัตตาคาร |
ชั้นอาชีพ 2 |
การทำนาทั่วไป และเลี้ยงสัตว์ การผลิตปุ๋ย (ยกเว้นการระเบิดหิน หรือเหมืองแร่ การทำเครื่องปั้นดินเผา การเจียระไน และขัดหิน นักแสดงชาย นักแสดงหญิง การแสดงออร์เคสตร้า และอุปรากร การทำภาพยนตร์ ผู้ผลิตและกลั่นสุราผลิตภัณฑ์อาหารนม โรงงานบรรจุขวด ซึ่งไม่รวมเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ อาหารสำเร็จรูป และอาหารกระป๋อง รองเท้า สินค้าจำพวกเครื่องหนักเบา
เครื่องตกแต่งบ้าน และผลิตภัณฑ์ที่ทำจากไม้ ผลิตภัณฑ์พลาสติก การทอผ้าการผลิตผ้า และสินค้าผ้า การบริการซักรัด พนักงานเดินตลาด สถานที่ขาย และบริการซ่อมรถยนต์
|
ชั้นอาชีพ 3 |
การดูแลต้นไม้ กรดชนิดบางเบา น้ำมันขัดเงา และเคมีภัณฑ์ชนิดอื่น โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ หรือปูนขาว ผลิตภัณฑ์ซีเมนส์ การติดตั้งท่อ การฟอกหนัง การเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์แผ่นโลหะ (ทำเป็นรูปแบ) การฟอกหนังเทียม คลังสินค้าและอุตสาหกรรมห้องเย็น การขายส่ง และขายปลีก การบริการส่งแก๊สหุงต้ม |
หมายเหตุ :
การคิดเบี้ยประกันภัยโดยแบ่งชั้นอาชีพตามตารางข้างต้นดังกล่าว แยกตามลักษณะของธุรกิจหลัก แต่อย่างไรก็ตามการพิจารณาลักษณะของธุรกิจใด ๆ จะพิจารณาถึงสภาพแวดล้อมที่สมาชิกปฏิบัติงานอยู่ สถานที่ตั้งของโรงงาน ตราการความปลอดภัย ประวัติการเสียชีวิต การบาดเจ็บ หรือการเจ็บป่วย การบริหาร ตลอดจนนโยบายของบริษัท โดยที่อัตราดังกล่าวอาจเปลี่ยนแปลงได้ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะของธุรกิจตามชั้นอาชีพที่แสดงไว้ในตารางข้างต้นดังกล่าว*
*เอกสารนี้จัดทำขึ้นเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจเท่านั้น ข้อกำหนดและเงื่อนไขความคุ้มครองจะระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยที่ออกให้
|